ไม่พบผลการค้นหา
ภาพด้านบวก - ด้านลบจากวิกฤติมหาอุทกภัย
บทเรียนรัฐประหารสปริง
"สังคมไทย" โครงสร้างอำนาจที่ไม่เท่าเทียม
'หมุนกงล้อประวัติศาสตร์ 14 + 6 ตุลา' สู่อนาคตการเมืองไทย
ทำไมต้อง 'ปฏิรูปศาล'
คลี่ปัญหาความเหลื่อมล้ำ- ไม่เป็นธรรมในกระบวนการยุติธรรม
'คิดใหม่ประชานิยม' จากรัฐบาลทักษิณถึงยิ่งลักษณ์ เราเรียนรู้อะไรบ้าง
น้ำท่วมใหญ่กระทบเศรษฐกิจไทยหนัก
“ประชาธิปไตยพม่า”...ฤาแค่ภาพลวงตา ?
นับถอยหลังศาลโลกพิพากษา ตอนที่ 2
รวมพลังคนดีฝ่าวิกฤติน้ำท่วม
เปิดวิสัยทัศน์ 'ดับไฟใต้' ของเลขาธิการอาเซียน
สู้! เพื่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
วิจัยต้นทุนทางการเมือง "กลุ่ม 111"
นับถอยหลังศาลโลกพิพากษา
คิดใหม่ประชานิยม
วิทยาศาสตร์ไทยอีก 10 ปี ข้างหน้า ?
ชั่งน้ำหนัก TPP
สาธารณะ รัฐ เซ็กส์
'เสียงสะท้อนชาวนาไทย' จำนำ – ประกันรายได้?
'มาตรการจัดเก็บภาษีน้ำท่วม' กรณีศึกษาจากออสเตรเลีย
Nov 21, 2011 12:36

รายการ  Intelligence ประจำวันที่  21 พ.ย. 2554 

 

รศ.ดร.ดวงมณี  เลาวกุล  จากคณะเศรษฐศาสตร์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เสนอให้รัฐบาลออกมาตรการช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัยน้ำท่วม โดยเฉพาะผู้ได้รับผลกระทบจากคันกั้นน้ำอย่างทันท่วงที โดยประกาศให้ชัดเจนเหมือนกับผู้ประสบอุทกภัยทั่วไปที่จะได้รับการช่วยเหลือ เป็นเงินฉุกเฉิน 5,000 บาท และเงินช่วยเหลือกรณีบ้านเสียหายทั้งหลัง 30,000 บาท  ทั้งนี้ต้องชดเชยให้เร็วที่สุด มีขั้นตอนที่ง่ายไม่ซับซ้อน  ส่วนมาตรการอื่น เช่น การนำค่าซ่อมบ้านมาหักภาษี อาจมีขั้นตอนระบบเอกสารที่ยุ่งยากแต่ก็น่าพิจารณา  ในฐานะนักเศรษฐศาสตร์ อ.ดวงมณี ยอมรับว่า ความเสียหายไม่ได้ชดเชยด้วยเงินเพียงอย่างเดียว จำเป็นต้องมีมาตรการอื่นเสริม

 

เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้ทั้งคนไทย และนักลงทุนต่างชาติ  เช่น การกระจายการถือครองที่ดิน  มาตรการด้านภาษีในฐานะนักวิชาการที่ศึกษาด้านภาษี  อ.ดวงมณี ยอมรับว่า การที่ประเทศไทยไม่มีภาษีที่ดิน และสิ่งปลูกสร้างที่คิดจากมูลค่าทำให้การจัดเก็บภาษีน้ำท่วมทำได้ยาก   แต่หากศึกษาจาก "ออสเตรเลีย" จะพบว่า  ออสเตรเลีย เก็บภาษี น้ำท่วม จากภาษีเงินได้ ของผู้ไม่ประสบภัย

 

น้ำท่วม โดยจัดเก็บเพียง 1 ปี เพื่อนำเงินมาฟื้นฟูบูรณะประเทศ    สำหรับประเทศไทย ระบบภาษีเงินได้  บุคคลธรรมดาคิดเป็น 12 เปอร์เซน  ส่วนนิติบุคคล คิดเป็น 24 เปอร์เซน

 

รศ.ดร.ดวงกมล ยังยกผลงานวิจัยในต่างประเทศ มาเตือนว่า การศึกษาการใช้งบช่วงภัยพิบัติ มักพบปัญหาการทุจริตคอร์รับชัน จึงเตือนรัฐบาลเพื่อไทยบริหารจัดการงบอย่างโปร่งใส โดยเฉพาะการตั้งงบฟื้นฟูเยียวยาไว้ 1 แสน 2 หมื่นล้าน ต้องสามารถแจกแจงรายละเอียดและสามารถตรวจสอบได้     ส่วนการลงทุนโครงสร้างขนาดใหญ่ขณะนี้ยังไม่มีความชัดเจนทั้ง รูปแบบโครงการ และ แหล่งเงินกู้  แต่จะต้องรักษาวินัยทางการเงินการคลัง   พร้อมกับเสนอให้ชะลอการประกาศใช้โครงการประชานิยมออกไป

 
Produced by Voice TV 
Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
184Article
76559Video
0Blog