ไม่พบผลการค้นหา
World Trend - นักวิทย์ฯ เข้าใกล้วัคซีน HIV ขึ้นอีกขั้น - Short Clip
World Trend - ผู้ก่อตั้งหัวเว่ยชี้ 'สหรัฐฯ ไม่มีทางทำลายหัวเว่ยได้' - Short Clip
World Trend - นิวซีแลนด์ผ่านกฎหมายห้ามชาวต่างชาติซื้อบ้าน - Short Clip
World Trend - สหรัฐฯ พบคนโจมตีรถไร้คนขับหลายกรณี - Short Clip
นักวิทย์ฯ พบวิธีสมานแผลด้วย 'กาว'
World Trend - สหรัฐฯ คิดค้น 'คอนกรีตซ่อมตัวเองได้' - Short Clip
World Trend - ​สหรัฐฯ ปรับเฟซบุ๊กแสนล้าน กรณีข้อมูลรั่ว - Short Clip
World Trend - สหรัฐฯ ให้ผู้ขอวีซ่าระบุบัญชีโซเชียลมีเดีย - Short Clip
World Trend - 'เหรินเจิ้งเฟย' ชี้ สหรัฐฯ ประเมินหัวเว่ยต่ำไป - Short Clip
In Her View - E ticket ขสมก. ใช้งานได้ 57 คัน - Short Clip
World Trend - 'หัวเว่ย' โตต่อเนื่อง ไม่หวั่นข้อพิพาทแคนาดา-สหรัฐฯ - Short Clip
World Trend - ชาวอเมริกันเกือบครึ่งมองว่า 'สตรีมมิง' ล้นตลาด - Short Clip
Honda เตรียมเปิดตัวมอเตอร์ไซค์ระบบทรงตัวอัตโนมัติ
นักวิทย์ฯ วิดีโอคอลผ่านเทคโนโลยีควอนตัมสำเร็จ : FULL EP.
นักวิทย์ฯ ฮาวาร์ดคิดค้น Exosuit รุ่นใหม่น้ำหนักเบา
World Trend - '7-Eleven' สหรัฐฯ รองรับแอปเปิลเพย์และกูเกิลเพย์ - Short Clip
'Activision Blizzard' เปิดตัวลีกแข่งขันเกมเป็นทางการปีหน้า
World Trend - นักวิจัยพัฒนา 'e-skin' ให้หุ่นยนต์รับความรู้สึกเหมือนคน - Short Clip
World Trend - สิงคโปร์เตรียมคุ้มครองผู้ใช้ e-payment - Short Clip
นักวิทย์ฯ พบวิธีสมานแผลด้วย 'กาว' FULL EP.
นักวิทย์ฯ สหรัฐฯ แต่งพันธุ์ข้าวโพดโปรตีนสูง
Oct 13, 2017 08:54

นักวิทยาศาสตร์จากสหรัฐฯ ได้ค้นพบวิธีการตัดแต่งพันธุกรรมข้าวโพดให้สามารถผลิตสารอาหารประเภทโปรตีน แบบเดียวกับที่พบในเนื้อสัตว์แล้ว โดยใส่ยีนที่มีหน้าที่ผลิตโปรตีนของแบคทีเรีย E. Coli (อีโคไล) เข้าไปในพันธุกรรมของข้าวโพดได้เป็นผลสำเร็จ ซึ่งผลการศึกษาพบว่าวิธีการนี้ช่วยให้ข้าวโพดมีโปรตีนเพิ่มสูงขึ้นถึง 57% เมื่อเทียบกับปัจจุบันที่ใช้วิธีใส่โปรตีนสังเคราะห์เข้าไปในเมล็ดพันธุ์ ซึ่งนอกจากจะให้คุณค่าทางอาหารไม่สูงเท่าแล้ว ยังมีต้นทุนที่สูงกว่ามากอีกด้วย

ทีมนักวิจัยยังเปิดเผยต่ออีกว่า วิธีการตัดต่อพันธุกรรมข้าวโพดด้วยยีนของแบคทีเรียที่ช่วยสร้างโปรตีนนั้น จะสามารถทำได้จริงเพื่อวางจำหน่ายในตลาดทั่วไปในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า แต่ก็อาจมีอุปสรรคสำคัญในเรื่องของข้อกฎหมายด้านพันธุวิศวกรรม รวมไปถึงความกังวลของผู้บริโภคในเรื่องผลกระทบทางสุขภาพอีกด้วย

อย่างไรก็ตาม ทีมนักวิจัยได้เตรียมทางออกไว้รองรับในกรณีที่การตัดต่อพันธุกรรมยังไม่เป็น ที่ยอมรับ เพราะได้มีการพิจารณาแนวทางเพิ่มสารอาหารประเภทกำมะถันให้กับข้าวโพดเพื่อ สร้างโปรตีน ซึ่งอาจต้องใช้เวลาเพิ่มเติม และได้ผลลัพธ์ที่แตกต่างออกไป แต่ก็จะมีประโยชน์อย่างมากต่ออุตสาหกรรมปศุสัตว์และการบริโภคของมนุษย์

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
187Article
76559Video
0Blog