ไม่พบผลการค้นหา
World Trend - นักวิจัยพิมพ์ 'กะโหลกใหม่' ให้สุนัขป่วย - Short Clip
World Trend - อินสตาแกรมเพิ่มฟีเจอร์ส่งข้อความเสียง - Short Clip
World Trend - 'นางแบบดิจิทัล' ก้าวสำคัญของวงการแฟชั่น - Short Clip
World Trend - Macy's ให้บริการ VR เลือกซื้อเฟอร์นิเจอร์ - Short Clip
World Trend - 'โฮโลเลนส์' เทคโนโลยีสุดล้ำยกระดับยานยนต์ - Short Clip
World Trend - 'สตาร์บัคส์' มีแนวโน้มขายเครื่องดื่มผสมกัญชาที่สุด - Short Clip
World Trend - เครื่องพิมพ์ 3 มิติ กับการปฏิวัติวงการที่อยู่อาศัย - Short Clip
World Trend - MIT คิดค้นเฮดเซตอ่านความคิด - Short Clip
World Trend - 'เรตติงลูกค้า' กลยุทธ์ค้าปลีกที่ส่งผลกระทบในวงกว้าง - Short Clip
World Trend - บริษัทญี่ปุ่นเปิดตัวเครื่องทำซูชิ 3 มิติ - Short Clip
World Trend - 'เนื้อทางเลือก' หรือเนื้อสัตว์ในอนาคตจะมาจากแล็บ? - Short Clip
World Trend - 'เฟซบุ๊ก เมสเซนเจอร์' ทดสอบดาร์กโหมดในบางประเทศ - Short Clip
World Trend - เปิด 'มาร์เวล เอ็กซ์พีเรียนซ์' สุดยิ่งใหญ่ - Short Clip
World Trend - ซานฟรานฯ เสนอร่างกม.แบนระบบสแกนหน้าของรัฐ - Short Clip
World Trend - ​จีนทดสอบรถบัสไฟฟ้าไร้คนขับ ลุยน้ำท่วมได้ - Short Clip
World Trend - ​'แชร์พื้นที่อาศัย' เทรนด์ฮอตใหม่ในซิลิคอนแวลลีย์ - Short Clip
World Trend - 'ผิวหุ่นยนต์' ช่วยแปลงวัตถุให้เป็นหุ่นยนต์ - Short Clip
World Trend - 'โลกร้อน' อาจทำให้ทารกเป็นโรคหัวใจเพิ่ม - Short Clip
World Trend - ​'อะลาดิน' โกยเงินในอเมริกาเกิน 100 ล้าน - Short Clip
World Trend - แบรนด์ดังเตรียมผลิตบรรจุภัณฑ์ 'ใช้ซ้ำ' - Short Clip
World Trend - ค้างคาว 'สะท้อนเสียง' เหมือนระบบนำทางฝีมือมนุษย์ - Short Clip
Apr 23, 2018 10:45

Echolocation หรือการสะท้อนเสียงเพื่อหาตำแหน่งวัตถุของค้างคาวเป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ศึกษามาเป็นเวลานานแล้ว ล่าสุดมีการค้นพบเพิ่มเติมว่าค้างคาวบางสายพันธุ์สามารถสะท้อนเสียงได้ซับซ้อนกว่าสายพันธุ์อื่น ๆ และใกล้เคียงกับระบบนำทางที่มนุษย์สร้างขึ้นอีกด้วย

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยวอชิงตัน ในสหรัฐฯ ศึกษาพบว่า ค้างคาวผลไม้อียิปต์สามารถส่งสัญญาณเสียงสะท้อนเพื่อหาตำแหน่งของวัตถุ หรือ Echolocation ได้ซับซ้อนว่าค้างคาวสายพันธุ์อื่น โดยจะส่งเสียง 'คลิก' ที่เกิดจากการเคาะลิ้น ได้หลากหลายรูปแบบ หลายความถี่และหลายทิศทาง คล้ายกับระบบนำทางที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งการค้นพบนี้อาจนำไปสู่การพัฒนาจักรกลหรือยานยนต์ไร้คนขับที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การเคาะลิ้นของค้างคาวชนิดนี้ไม่ต่างกับระบบการส่งเรดาร์และโซนาร์ ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณความถี่ และจับคลื่นที่สะท้อนกลับมา ซึ่งนักวิจัยใช้วิธีเก็บข้อมูลโดยเครื่องจับสัญญาณบนตัวค้างคาว ประกอบกับกล้องอินฟราเรดแบบสโลว์โมชัน และไมโครโฟนความไวสูง โดยใช้ 'ถ้ำค้างคาว' ที่ออกแบบพิเศษ ที่ตั้งอยู่ ณ มหาวิทยาลัยจอนส์ ฮอปกินส์ เป็นสถานที่เก็บข้อมูล

การทดลองขั้นต่อไปคือต้องหาคำตอบว่าค้างคาวผลไม้อียิปต์สร้างเสียงคลิก หรือ การเคาะลิ้น จากสมองส่วนใด โดยใช้การ CT Scan และสร้างโมเดล 3 มิติ เพื่อให้ข้อมูลด้านชีววิทยาเหล่านี้ เป็นประโยชน์ในเชิงวิศวกรรมต่อไป


Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
184Article
76559Video
0Blog